Page 39 - คู่มือการรับสมัคร เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
P. 39
37
สำขำวิชำ เทคโนโลยีดิจิทัลและนิเทศศาสตร์ดิจิทัล
หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลและนิเทศศาสตร์ดิจิทัล
(Doctor of Philosophy Program in Digital Technology and Communication)
เปิดสอนเนื้อหาใน 2 ศาสตร์ ดังนี้
1) เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
2) นิเทศศาสตร์ดิจิทัล (Digital Communication)
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
1. ผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกที่เน้นเฉพาะการท าวิจัย (แบบ 1.1) ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทหรือ
เทียบเท่าในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ที่มีการท าวิทยานิพนธ์ และมีประสบการณ์วิจัยในสายงาน โดยมีผลงานวิจัยตีพิมพ์
เผยแพร่ในวารสารวิชาการที่สาขาวิชายอมรับ หรือมีประสบการณ์ในการท างานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า
2 ปี หรือ
2. ผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกแบบ 2 (แบบ 2.1) ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทหรือเทียบเท่าใน
สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือมีหลักฐานรับรองว่าจะส าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษา
ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีรับรอง โดย
2.1 ส าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทที่มีการท าวิทยานิพนธ์ หรือ
2.2 มีประสบการณ์วิจัยในสายงานที่เกี่ยวข้อง และมีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการหรือสิ่งตีพิมพ์อื่น
ที่สาขาวิชายอมรับ หรือ
3. ผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกแบบ 2 (แบบ 2.2) ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับ
หนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง หรือมีหลักฐานรับรองว่าจะส าเร็จการศึกษาขั้น
ปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง โดยมีแต้มระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมนับถึงภาคการศึกษาสุดท้ายไม่ต่ ากว่าเกณฑ์เกียรตินิยมอันดับหนึ่งของสถาบันที่ก าลังศึกษา
4. ต้องไม่เป็นผู้พ้นสถานภาพนักศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาเนื่องจากผลการสอบ หรือผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ หรือกระท า
ผิดวินัยนักศึกษา หรือยังไม่ส าเร็จการศึกษาเมื่อครบก าหนดเวลาสูงสุดแล้วในหลักสูตรและระดับการศึกษาที่จะเข้า
ศึกษา
เอกสำร/รำยละเอียดที่สำขำวิชำต้องใช้ในกำรพิจำรณำคัดเลือก
1. หลักฐานแสดงผลการศึกษา (Transcript) ในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท (เฉพาะผู้สมัครแบบ 1.1, 2.1)
2. หลักฐานแสดงผลการศึกษา (Transcript) ในระดับปริญญาตรี (เฉพาะผู้สมัครแบบ 2.2)
3. โครงร่างวิทยานิพนธ์ (Thesis Proposal)
4. หนังสือรับรอง (Recommendation) จากอาจารย์หรือผู้บังคับบัญชา จ านวน 2 ฉบับ
5. ผลงานวิจัยตีพิมพ์ (ในกรณีที่เป็นไปตามคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครข้อที่ 1 หรือข้อที่ 2 แบบไม่ท าวิทยานิพนธ์)
วิธีกำรคัดเลือก
คัดเลือกโดยคณะกรรมการคัดเลือกนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยพิจารณาจากหลักฐานการศึกษาตามวุฒิ
การศึกษาที่ใช้สมัคร โครงร่างวิทยานิพนธ์ หนังสือรับรอง ผลการสอบข้อเขียน (ถ้ามี) และผลการสอบสัมภาษณ์
วันเวลำเรียน
วันจันทร์ – วันศุกร์ ส าหรับการท าวิจัย โดยสามารถเลือกเรียนปกติที่มหาวิทยาลัย หรือเรียนออนไลน์ได้