Page 51 - คู่มือการสมัครเข้าศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2568
P. 51
50
้
สาขาวิชา เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์นำ
หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ)
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
ึ
1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเป็นนักศกษาภาคการศกษาสุดทายของหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย
้
ึ
หรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีรับรอง โดยมีผลการเรียนอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปน
ี้
1.1 แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือเทียบเท่า หรือ
1.2 แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00 หรือเทียบเท่า และแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมในวิชาเอกของหลักสูตรปริญญาโทท ี่
จะเข้าศึกษาไม่ต่ำกว่า 2.75 หรือเทียบเท่า หรือมีประสบการณ์การทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่จะเข้าศึกษา โดยมี
ี
หนังสือรับรองจากหน่วยงานหรือผู้บังคับบัญชาว่ามศักยภาพที่จะศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้
2. สาขาวิชาที่สำเร็จการศึกษา หรือกำลังศึกษาอยู่ ต้องเป็นสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ประมง วาริชศาสตร์ เทคโนโลยีทาง
ทะเล เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ หรือเทียบเท่า
3. สำหรับผู้ที่สมัครในแบบ ก 1 จะต้องมีประสบการณ์ทำงานการใช้เทคโนโลยีทางด้านสัตว์น้ำ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
4. กรณีที่ยังไม่สำเร็จการศึกษา จะต้องมีหลักฐานรับรองว่า จะสำเร็จการศึกษาก่อนวันรายงานตัวขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา
เอกสาร/รายละเอียดที่สาขาวิชาต้องใช้ในการพิจารณาคัดเลือก
1. หลักฐานแสดงผลการศึกษา (Transcript) ในระดับปริญญาตรี
2. หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานจากผู้บังคับบัญชา และหนังสือรับรอง (Recommendation) จากอาจารย์ที่ปรึกษา หรือ
อาจารย์ผู้สอน อย่างละ 1 ฉบับ (สำหรับผู้ที่ใช้ประสบการณ์การทำงานในการสมัคร)
3. หนังสือรับรอง (Recommendation) จากอาจารย์ที่ปรึกษา 1 ฉบับ และจากอาจารย์ผู้สอน 1 ฉบับ (สำหรับผู้ที่ไม่ได้ใช้ประสบการณ์
การทำงานในการสมัคร)
4. มีคะแนนสอบภาษาอังกฤษเป็นไปตามทมหาวิทยาลัยกำหนด
ี่
วิธีการคัดเลือก
ใช้วิธีคัดเลือกและสอบสัมภาษณ์ โดยคณะกรรมการคัดเลือกนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาโดยพิจารณาจากผลการศึกษาตามวุฒ ิ
การศึกษาที่ใช้สมัคร ประสบการณ์และประวัติการทำงาน และผลการสอบสัมภาษณ์
์
หมายเหตุ หลักสูตรมหาบัณฑิตของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวน้ำ มีแผนการศึกษาให้เลือก 2 แผน คือ
1. แบบ ก 1
เนื้อหาของหลักสูตร ได้แก่ การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ล้วน ๆ ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต ทั้งนี้สาขาวิชา
่
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์อาจกำหนดให้เรียนรายวิชา หรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นด้วยก็ได้ โดยไม่นบหนวยกิต
ั
แต่ต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2. แบบ ก 2
- เนื้อหาของหลักสูตรประกอบด้วยการศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 28 หน่วยกิต และศึกษาวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ซึ่งมีคา ่
่
เทียบได้ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต ทั้งนี้จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรต้องไมน้อยกว่า 48 หน่วยกิต
3. ใช้ภาษาอังกฤษในการนำเสนอวิชาสัมมนา วิชาหัวข้อศึกษาทางเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ และวิชาปัญหาพิเศษ
ติดต่อขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
➢ สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว ์ โทรศัพท 0-4422-4378
์
e-mail : ati@g.sut.ac.th
➢ สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร โทรศัพท 0-4422-4152-3 โทรสาร 0-4422-4150
์
➢ เว็บไซต์ของสำนักวิชา : https://beta.sut.ac.th/iat
➢ เว็บไซต์ของสาขาวิชา : https://beta.sut.ac.th/iat-animal