Page 14 - คู่มือการสมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี '66
P. 14

12 12 12                                                                                                                                                13
                                                                                                                                                          ู
                                                                                                 1)  วิชาเอกเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว เนนดานสัตวศาสตร นักศึกษารจริง
                                                                                                    ปฏิบัติและประยุกตได โดยสามารถวิเคราะหสาเหตุของปญหา แกปญหาและ
                                                                                                    เสนอแนวทางในการแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับการผลิตสัตว มีทักษะการคนควา
                                                                                                                                        ื
                                                                                                                                                   ู
                                                                                                    สามารถทำงานเปนทีม และมีความสามารถในการส่อสาร การเรียนรเชิงบูรณาการ
                                                                                                    โดยใชปญหาเปนฐาน (problem-based learning, PBL)
                                                                                                 2)  วิชาเอกเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว - โทความเปนผูประกอบการ เนนให
                                                                                                    มีความรูความสามารถ มีทักษะที่เพียงพอในการประกอบอาชีพ และมีแนวคิดใน
                                                                                                    การเปนผูประกอบการธุรกิจนวัตกรรม (Innovative Entrepreneurs) หรือเปน
                                                                                                    บุคลากรประกอบการในองคกร (Entrepreneurs)

                                                                                                 3. เทคโนโลยีอาหาร
          สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร                                                             ศึกษาและประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตรหลายแขนง ประกอบดวย จุลชีววิทยา
                                                                                            อาหาร เคมีอาหาร การแปรรูปอาหาร วิศวกรรมอาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ
          กลุมสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร                                                    การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑอาหารและการตลาด
          จำนวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 175 - 185 หนวยกิต                                         ลักษณะวิชาชีพ: เก่ยวของกับการแปรรูปผลิตภัณฑอาหารในระดับอุตสาหกรรม
                                                                                                                 ี
               1. เทคโนโลยีการผลิตพืช                                                       การควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิต และการเก็บรักษาผลิตภัณฑอาหาร รวมถึงการตรวจ
               ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมดานการผลิตพืช การปรับปรุง     วิเคราะหคุณภาพอาหารทางเคมี จุลินทรียและกายภาพ และการวิเคราะหคุณภาพทางประสาท
                                                                                                    ั
          พันธุพืช การจัดการดิน น้ำ ปุย และศัตรูพืช วิทยาการเมล็ดพันธุ วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว   สัมผัส อีกท้งความปลอดภัยทางอาหาร (Food safety) การคนควาและพัฒนากระบวนการ
          รวมทั้งเทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตพืช และการวิจัย การประยุกตใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยให  แปรรูปผลิตภัณฑอาหารชนิดใหมและการใชบรรจุภัณฑชนิดตาง ๆ ตลอดจนเก่ยวของกับการ
                                                                                                                                                   ี
          เหมาะสม การบริหารจัดการ การทำแผนธุรกิจการผลิตพืช และการพัฒนาศักยภาพดานความ       บริหารและการจัดการในระบบอุตสาหกรรมและการตลาด
          เปนผประกอบการ โดยนักศึกษาสามารถเลือกเรียนแบบวิชาเอก (เทคโนโลยีการผลิตพืช) หรือ
             ู
          แบบวิชาเอก - วิชาโท (เทคโนโลยีการผลิตพืช - โทความเปนผูประกอบการ) ตามความสนใจ
          และเปาหมายในอนาคตของนักศึกษา
               2.  เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว
                                     ี
               เปนหลักสูตรท่ทันสมัย ศึกษาเก่ยวกับวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว  
                          ี
          โดยเนนสัตวเศรษฐกิจ และตอบสนองอุตสาหกรรมการผลิตสัตวในยุคปจจุบัน และเปนไปตาม
                                                           ั
                                                          ี
                                                                
                                                                        ี
                                                                        ่
                          ิ
                            ั
                               ุ
          กรอบมาตรฐานคณวฒระดบอดมศกษา พ.ศ. 2558 เนนใหนกศกษามทกษะแหงศตวรรษท 21
                      ุ
                        ุ
                                  ึ
                                                  
                                                   ั
                                                     ึ
                                               
          (21  Century Skills) และมีแนวคิดความเปนผูประกอบการ
            st
                ลักษณะวิชาชีพ: เก่ยวของกับการผลิตสัตวโดยใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่อ
                                ี
                                                                          ื
          จัดการการผลิตต้งแตระดับตนน้ำ (การปรับปรุงพันธสัตว อาหารสัตว กายวิภาคและสรีรวิทยา
                                              ุ
                     ั
          ของสัตว โรคและการปองกันโรค) ระดับกลางน้ำ (การแปรรูปผลิตภัณฑสัตว เทคโนโลย ี
                    ี
          หลังการเก็บเก่ยว) ระดับปลายน้ำ (การจัดการหวงโซอุปทาน การจัดการสินคาปศุสัตว)
          โดยนักศึกษาสามารถเลือกเรียนได 2 กลุม ตามความสนใจ คือ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19